การวิจักษ์วรรณคดี
คือการเกิดความเข้าใจแจ่มแจ้งจนตระหนักในคุณค่าของวรรณคดีเรื่องหนึ่งๆ ว่าเป็นงานศิลปะที่ถึงพร้อมเพียงใด มีข้อดีเด่นอย่างไร มีข้อด้อยอย่างไร มีข้อคิดที่สัมพันธ์กับชีวิตจริงเพียงใด เป็นต้น ความตระหนักดังกล่าวย่อมนำไปสู่ความซาบซึ้งในคุณค่าทำให้เกิดความหวงแหน อยากจะรักษาไว้ให้ดำรงเป็นสมบัติของชาติต่อไปส่วนการวิจารณ์วรรณคดี ซึ่งมีอยู่หลายระดับ ในระดับต้นๆ เป็นการบอกกล่าวความคิดเห็นส่วนตัวว่าชอบหรือไม่ชอบเรื่องที่อ่านอย่างไร บางครั้งอาจจะติชมว่าดีหรือไม่ดีด้วยแต่ผู้อ่านที่ดีจะต้องไม่หยุดอยู่เพียงนั้น ควรจะถามตนเองต่อไปว่าที่ชอบหรือไม่ชอบ และที่ว่าดีหรือไม่ดีนั้นเพราะเหตุใด
แนวทางการพิจารณารูปแบบวรรณคดี
วรรณคดีร้อยกรอง
1. รูปแบบคำประพันธ์ หมายถึง ลักษณะร่วมของงานประพันธ์อันเป็นวิถีทางที่ผู้ประพันธ์เลือกใช้ในการนำเสนอเนื้อหาไปสู่ผู้อ่านรูปแบบคำประพันธ์ได้ เช่น กาพย์ กลอน โคลง ร่าย ฉันท์ เป็นต้น อ่านเพิ่มเติม . . .
1. รูปแบบคำประพันธ์ หมายถึง ลักษณะร่วมของงานประพันธ์อันเป็นวิถีทางที่ผู้ประพันธ์เลือกใช้ในการนำเสนอเนื้อหาไปสู่ผู้อ่านรูปแบบคำประพันธ์ได้ เช่น กาพย์ กลอน โคลง ร่าย ฉันท์ เป็นต้น อ่านเพิ่มเติม . . .
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น